มะนาวนิ้วมือ (Finger lime)
วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Finger lime
วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Folies Bergère
The Folies Bergère (French pronunciation: [fɔ.li bɛʁ.ʒɛʁ]) is a cabaret music hall, located in Paris, France.
Established in 1869, the house was at the height of its fame and popularity from the 1890s' Belle Époque through the 1920s' Années folles. The institution is still in business, and is always a strong symbol of French and Parisian life.
History
Located at 32 rue Richer in the 9th Arrondissement, the Folies Bergère was built as an opera house by the architect Plumeret. The closest métro stations are Cadet and Grands Boulevards.
It opened on 2 May 1869 as the Folies Trévise, with fare including operettes, opéra comique(comic opera), popular songs, and gymnastics. It became the Folies Bergère on 13 September 1872, named after a nearby street, the rue Bergère ("bergère" means "shepherdess").
In 1882, Édouard Manet painted his well-known painting A Bar at the Folies-Bergère which depicts a bar-girl, one of the demimondaines, standing before a mirror.
In 1886, Édouard Marchand conceived a new genre of entertainment for the Folies Bergère: the music-hall review. Women would be the heart of Marchand's concept for the Folies. In the early 1890s, the American dancer Loie Fuller starred at the Folies Bergère. In 1902, illness forced Marchand to leave after 16 years.
In 1918, Paul Derval (1880–1966) made his mark on the review. His reviews were to feature extravagant costumes, sets and effects, and his "small nude women". Derval's small nude women would become the hallmark of the Folies. During his 48 years at the Folies, he launched the careers of many French stars including Maurice Chevalier, Mistinguett, Josephine Baker, Fernandel and many others. In 1926,Josephine Baker, an African-American expatriate singer, dancer, and entertainer, became an overnight sensation at the Folies Bergère when she performed the Danse sauvage, wearing a costume consisting of a skirt made of a string of artificial bananas and little else. Her erotic dancing and near nude performances were renowned. The Folies Bergère catered to popular taste. Shows featured elaborate costumes; the women's were frequently revealing, practically leaving them naked, and shows often contained a good deal of nudity. Shows also played up the "exoticness" of persons and objects from other cultures, obliging the Parisian fascination with the négritude of the 1920s.
In 1936, Derval brought Josephine Baker from New York to lead the review En Super Folies. Michel Gyarmathy, a young Hungarian arrived from Balassagyarmat, his hometown, designed the poster forEn Super Folies, a show starring Josephine Baker in 1936. This began a long love story between Michel Gyarmathy, Paris, the Folies Bergère andthe public of the whole world which lasted 56 years. The funeral of Paul Derval was held on 20 May 1966. He was 86 and had reigned supreme over the most celebrated music hall in the world. His wife Antonia, supported by Michel Gyarmathy, succeeded him. In August 1974, the Folies Antonia Derval passed on the direction of the business to Hélène Martini, the empress of the night (25 years earlier she had been a showgirl in the revues). This new mistress of the house reverted to the original concept to maintain the continued existence of the last music hall which remained faithful to the tradition.
Since 2006, the Folies Bergère has presented some musical productions with stage entertainment likeCabaret (2006–2008) or Zorro the Musical (2009–2010).
วันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ที่ชาร์จสมาร์ทโฟนสุดล้ำ จากเครื่องดื่มคู่ใจ
|
วันเสาร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2556
สัญลักษณ์ทางการแพทย์
ไม้เท้าที่มีงูพัน 1 ตัว เรียกว่า ไม้เท้าแห่งแอสคูลาปิอุส (The Staff of Aesculapius )
ไม้เท้าที่งูพันสองตัว เรียกว่า ไม้เท้าคาดูเซียส (Caduceus)
ไม้เท้าที่งูพันสองตัว เรียกว่า ไม้เท้าคาดูเซียส (Caduceus)
The Staff of Aesculapius
ย้อน.....ไปในสมัยที่อดีตกาลอันเก่าแก่
ย้อน..........ไปในสมัยที่มนุษย์อยู่รวมกันเป็นชุมชน หมู่บ้านเล็กๆ
ย้อน...............ไปในสมัยที่การไปมาหาสู่กันต้องอาศัยเกวียนและสัตว์พาหนะ
ย้อน.....................ไปในสมัยเพึ่งก่อกำเนิดมาจากความว่างเปล่าได้ไม่นาน สมัยที่โลกนั้นถูกปกครองโดยเทพผู้ยิ่งใหญ่สามองค์ ได้แก่ "ซุส Zeus" "ฮาเดส Hades" และ "โปเซดอน Poseidon" โดยซุสนั้นเป็นมหาเทพผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดปกครองเทือกเขาโอลิมปัส สรวงสวรรค์และพื้นพิภพทั้งหมด ฮาเดสปกครองขุมนรกและบาดาล ส่วนโปเซดอนปกครองมหาสมุทรอันกว้างใหญ่
ซุสนั้นมีโอรสอยู่องค์หนึ่งนามว่า "อพอลโล" หรือที่เรารู้จักกันในอีกนามคือ เทพสุริยะ หรือเทพเจ้าแห่งสัจจะและความซื่อตรง เมื่อยังเยาว์วัยอพอลโลเที่ยวไปตามแว่นแคว้นต่าง ๆ ทางทิศเหนือของประเทศกรีซ จนถึงแคว้นเธสสะลีซึ่งเป็นดินแดนของชนชาติไฮเพอร์โบเรียน ในแคว้นเธสสะลีมีสาวเจ้าคนหนึ่งหน้าตาสละสลวย งดงามยิ่งนัก ชื่อว่า โครอนนิส (Coronis) เป็นธิดาเจ้าแห่งแคว้นนั้น อพอลโลก็รู้สึกรักใคร่ชอบพอนางโดยทันที ท้ายที่สุดอพอลโลผูกสมัครรักใคร่ได้เสียกับนางจนตั้งครรภ์ และได้เดินทางกลับเทือกเขาโอลิมปัสไป แต่เทพอพอลโลก็มิได้ทอดทิ้งนาง โดยส่งนกดุเหว่าสีขาวบริสุทธิ์หนึ่งตัวไว้คอยดูแลนาง แต่กลับปรากฎว่า โครอนนิสกลับเป็นหญิงหลายใจ ไม่ซื่อสัตย์ต่อคู่รัก แอบไปคบชู้กับชายอื่น นกดุเหว่าจึงกลับไปบอกอพอลโลนายของตนให้ทราบเรื่อง เมื่อทราบข่าวอพอลโลโกรธมากและบันดาลโทสะ สาปเจ้านกดุเหว่าให้มีขนสีดำตลอดไปโทษฐานเอาข่าวอัปมงคลมาบอก และได้เดินทางเพื่อไปลงทัณฑ์โครอนนิสด้วยตนเอง แต่ปรากฎว่าเมื่อไปถึงกลับทำนางไม่ลง จึงให้ "เทพอาร์ทีมิส Artemis" ซึ่งเป็นเทพีแห่งการล่าสัตว์ผู้เป็นที่เคารพรักของเหล่านายพรานเป็นคนลงมือ แผงศรปลิดชีวิตของนางโครอนนิส แต่หลังจากนางโครอนนิสตาย อพอลโลก็รู้สึกผิดและเสียใจต่อการกระทำของตนมาก จึงใช้พลังช่วยชีวิตบุตรของตนซึ่งจวนครบกำหนดคลอด และนำไปฝากให้ไครอน(Chiron) ซึ่งเป็น Centaur ผู้เปี่ยมไปด้วยความรู้ เป็นผู้เลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ และขนานนามบุตรของตนเองว่า แอสคูลาปิอุส(Aesculapius)
ย้อน..........ไปในสมัยที่มนุษย์อยู่รวมกันเป็นชุมชน หมู่บ้านเล็กๆ
ย้อน...............ไปในสมัยที่การไปมาหาสู่กันต้องอาศัยเกวียนและสัตว์พาหนะ
ย้อน.....................ไปในสมัยเพึ่งก่อกำเนิดมาจากความว่างเปล่าได้ไม่นาน สมัยที่โลกนั้นถูกปกครองโดยเทพผู้ยิ่งใหญ่สามองค์ ได้แก่ "ซุส Zeus" "ฮาเดส Hades" และ "โปเซดอน Poseidon" โดยซุสนั้นเป็นมหาเทพผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดปกครองเทือกเขาโอลิมปัส สรวงสวรรค์และพื้นพิภพทั้งหมด ฮาเดสปกครองขุมนรกและบาดาล ส่วนโปเซดอนปกครองมหาสมุทรอันกว้างใหญ่
ซุสนั้นมีโอรสอยู่องค์หนึ่งนามว่า "อพอลโล" หรือที่เรารู้จักกันในอีกนามคือ เทพสุริยะ หรือเทพเจ้าแห่งสัจจะและความซื่อตรง เมื่อยังเยาว์วัยอพอลโลเที่ยวไปตามแว่นแคว้นต่าง ๆ ทางทิศเหนือของประเทศกรีซ จนถึงแคว้นเธสสะลีซึ่งเป็นดินแดนของชนชาติไฮเพอร์โบเรียน ในแคว้นเธสสะลีมีสาวเจ้าคนหนึ่งหน้าตาสละสลวย งดงามยิ่งนัก ชื่อว่า โครอนนิส (Coronis) เป็นธิดาเจ้าแห่งแคว้นนั้น อพอลโลก็รู้สึกรักใคร่ชอบพอนางโดยทันที ท้ายที่สุดอพอลโลผูกสมัครรักใคร่ได้เสียกับนางจนตั้งครรภ์ และได้เดินทางกลับเทือกเขาโอลิมปัสไป แต่เทพอพอลโลก็มิได้ทอดทิ้งนาง โดยส่งนกดุเหว่าสีขาวบริสุทธิ์หนึ่งตัวไว้คอยดูแลนาง แต่กลับปรากฎว่า โครอนนิสกลับเป็นหญิงหลายใจ ไม่ซื่อสัตย์ต่อคู่รัก แอบไปคบชู้กับชายอื่น นกดุเหว่าจึงกลับไปบอกอพอลโลนายของตนให้ทราบเรื่อง เมื่อทราบข่าวอพอลโลโกรธมากและบันดาลโทสะ สาปเจ้านกดุเหว่าให้มีขนสีดำตลอดไปโทษฐานเอาข่าวอัปมงคลมาบอก และได้เดินทางเพื่อไปลงทัณฑ์โครอนนิสด้วยตนเอง แต่ปรากฎว่าเมื่อไปถึงกลับทำนางไม่ลง จึงให้ "เทพอาร์ทีมิส Artemis" ซึ่งเป็นเทพีแห่งการล่าสัตว์ผู้เป็นที่เคารพรักของเหล่านายพรานเป็นคนลงมือ แผงศรปลิดชีวิตของนางโครอนนิส แต่หลังจากนางโครอนนิสตาย อพอลโลก็รู้สึกผิดและเสียใจต่อการกระทำของตนมาก จึงใช้พลังช่วยชีวิตบุตรของตนซึ่งจวนครบกำหนดคลอด และนำไปฝากให้ไครอน(Chiron) ซึ่งเป็น Centaur ผู้เปี่ยมไปด้วยความรู้ เป็นผู้เลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ และขนานนามบุตรของตนเองว่า แอสคูลาปิอุส(Aesculapius)
ไครอนนี้เป็นอาจารย์ผู้ปราดเปรื่อง เชี่ยวชาญในศาสตร์วิชาการต่าง ๆ มีวิชาดนตรี เภสัชกรรมวิทยา และวิชาธนูศิลป์ เป็นต้น เป็นที่นับถือของชาวกรีกโบราณว่า เป็นผู้สอนมนุษย์ให้รู้จักใช้พืชสมุนไพรทำยา และเป็นอาจารย์ของวีรบุรุษคนสำคัญ ๆ ในเทพปกรณัมมากมาย เช่น อคิลีส , เฮอร์คิวลีส , เยสัน , พีลูส , อีเนียส และคนอื่น ๆ อีก,มากมาย เป็นเด็กฉลาดเฉลียวมีความเข้าใจแตกฉานและเป็นที่รักของอาจารย์อย่างยิ่ง วิชาที่เขาใส่ใจศึกษาที่สุดได้แก่ โรคศิลป์ เพราะฉะนั้นเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ขี้น เขาจึงกลายเป็นหมอบำบัดโรคผู้มีความสามารถยิ่ง
ความสามารถในการบำบัดโรคของแอสคูลาปิอุสนั้นเก่งกาจยิ่งกว่าอาจารย์ของเขามาก ด้วยว่าสามารถบำบัดโรคและความป่วยไข้ได้ทุกชีวิต ซึ่งแม้แต่ไครอนเองก็ทำไม่ได้ ในไม่ช้าชื่อเสียงของแอสคูลาปิอุสก็เลื่องลือไปไกล ไม่ว่าใครจะเจ็บไข้ได้ป่วยหนักหนาสาหัสหรือเล็กน้อย ถ้าได้รับการบำบัดจากเขาแล้วอาการก็จะทุเลาลงอย่างรวดเร็ว จนกล่าวว่าหายวันหายคืนเลยทีเดียว ผู้คนพากันไปขอรับการบำบัดโรค ณ สถานบำบัดโรคของเขาจากทุกสารทิศ
ความสามารถในการบำบัดโรคของแอสคูลาปิอุสนั้นเก่งกาจยิ่งกว่าอาจารย์ของเขามาก ด้วยว่าสามารถบำบัดโรคและความป่วยไข้ได้ทุกชีวิต ซึ่งแม้แต่ไครอนเองก็ทำไม่ได้ ในไม่ช้าชื่อเสียงของแอสคูลาปิอุสก็เลื่องลือไปไกล ไม่ว่าใครจะเจ็บไข้ได้ป่วยหนักหนาสาหัสหรือเล็กน้อย ถ้าได้รับการบำบัดจากเขาแล้วอาการก็จะทุเลาลงอย่างรวดเร็ว จนกล่าวว่าหายวันหายคืนเลยทีเดียว ผู้คนพากันไปขอรับการบำบัดโรค ณ สถานบำบัดโรคของเขาจากทุกสารทิศ
การที่งูมาเกี่ยวข้องกับแอสคูลาปิอุส มีเรื่องเล่าอยู่ว่าขณะที่เขากำลังรักษาผู้เจ็บป่วยในสถานบำบัดโรคของเขา ก็มีงูตัวหนึ่งเลื้อยเขามาและกัดทำร้ายผู้ป่วย เขาจึกตัดสินใจใช้ไม้เท้าทุบฆ่ามันจนตาย และรักษาผู้ถูกมันกัดจนหายดี จากนั้นเขาก็ได้ใช้สมุนไพรชุบชีวิตเจ้างูตัวนั้นขึ้นมา เจ้างูตัวนั้นจึงสำนึกในบุญคุณและเลื้อยขึ้นมาพันไม้เท้าของเขาและยอมเป็นผู้รับใช้ในการรักษาโรคของแอสคูลาปิอุส ภาพไม้เท้าที่มีงูพันหนึ่งตัวจึงถือเป็นสัญลักษณ์ของการแพทย์และการรักษา แสดงถึงจริยธรรมอันแนวแน่ของแพทย์
การที่แอสคูลาปิอุสมีความสามารถมากจนเป็นที่เลื่องลือก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เขาอายุสั้นด้วย เนื่องจากเขาเก่งกาจมากจนสามารถรักษาแม้กระทั่งคนตายให้ฟื้นคืนชีวิตได้ จึงทำให้คนตายลดลง จนยมโลกเกิดความเงียบเหงา ฮาเดสเทพแห่งความตาย ถึงกลับขุ่นเคืองมากจนนำเรื่องไปร้องทุกข์ต่อมหาเทพซุส โดยบอกว่า "เจ้าพวกมนุษย์นั้นกำลังคิดกำเริบพยายามเอาตัวเทียบเคียงเทพเจ้า โดยแม้แต่ความตายก็เอาชนะได้ ปล่อยไว้แบบนี้จะเป็นภัยภายหลัง" ซุสฟังความข้างเดียวจึงได้ส่งอัสนีบาต สายฟ้าลงมาถูกตัวเขาตายในทันที เทพอพอลโลรู้สึกโกรธมากที่ลูกของตนถูกฆ่าแต่ก็ทำอะไรเทพบิดาไม่ได้ จึงไปจับยักษ์ตาเดียวของเทพเจ้าซุสมาฆ่าเสียเป็นการล้างแค้น เทพซุสจึงลงโทษเทพอพอลโลในความอุกอาจครั้งนี้ โดยเนรเทศอพอลโลให้ลงมาอยู่ในโลกมนุษย์และเป็นขี้ข้ามนุษย์เป็นเวลา 1 ปีจึงจะพ้นโทษ
ต่อมาภายมหาเทพซุสได้ทราบความจริง และรู้สึกเสียใจกับความหุนหันพลันแล้นของตน จึงเสด็จลงมาโลกมนุษย์ด้วยตนเองและนำดวงวิญญาณของแอสคูลาปิอุสกลับไปยังเทือกเขาโอลิมปัสและจุติใหม่เป็นเทพเจ้าแห่งการรักษาตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา.......
ไม้เท้าคาดูเซียส (Caduceus)
เรื่องถัดมาเป็นเรื่องของไม้เท้าคาดูเซียส ไม้เท้าที่มีงูพันสองตัว เดิมทีไม้เท้านี้เป็นเพียงไม้เท้ามีปีกของ "เฮอร์เมส Hermes" หรือรู้จักกันในนามเทพแห่งการสื่อสารและการพูด วันหนึ่งขณะที่เออร์เมสลงมาเยี่ยมโลกมนุษย์ก็ได้พบงูสองตัวกำลังต่อสู้กัน พระองค์จึงเอาไม้เท้าทิ่มระหว่างกลางเพื่อยุติความวิวาท เจ้างูทั้งสองจึงหยุดการต่อสู้และเลื้อยขึ้นมาบนไม้เท้าโดยหันหัวเข้าหากัน ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาไม้เท้าคาดูเซียสจึงมีงูพันอยู่สองตัวและกลายเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นกลาง การทูต การเจรจา และสันติภาพ ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับการแพทย์แต่อย่างใด
(A) เป็นสัญลักษณ์ของ United States Army Medical Corps; ส่วน (B) เป็นสัญลักษณ์ของ American Veterinary Medicine Association ที่มาภาพจากเวปที่กล่าวไป
เห็นได้ว่าสัญลักษณ์ของวิชาชีพแพทย์ที่ถูกต้องจริงๆแล้วคือ The Staff of Aesculapius แต่ตั้งแต่ในประวัติศาสตร์ช่วงหลายร้อยปีที่ผ่านมา ก็ได้มีการใช้ไม้เท้า Caduceus เข้ามาปนด้วย อาจเนื่องจากผู้พิมพ์หนังสือตำราแพทย์ในสมัยก่อนใช้ตรา Caduceus สับสนกับไม้เท้าแอสคูลาปิอุส แม้กระทั้งกรมการแพทย์ทหารบกของสหรํฐอเมริกาก็นำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ดังรูป A จึงอาจเป็นส่วนหนึ่งที่ไม้เท้า Caduceus แพร่หลายในปัจจุบัน
ถึงแม้ในปัจจุบันสัญลักษณ์ทั้งสองจะมีใช้ปะปนกันทั่วไป แต่ก็ไม่น่ามีปัญหาอะไร ถ้าหน่วยงานที่เอาไปใช้นั้นสื่อถึงความหมายและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของวิชาชีพแพทย์ อย่างไรก็ตามสัญลักษณ์ที่มีที่มาที่ถูกต้องคือ งูตัวเดียว The Staff of Aesculapius
วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ปลาตีน
ปลาตีน (อังกฤษ: Mudskipper, Amphibious fish) คือ ปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อย Oxudercinae ในวงศ์ใหญ่ Gobiidae (วงศ์ปลาบู่) มีทั้งหมด 9 สกุล ประมาณ 38 ชนิด กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตามชายทะเลโคลนและป่าชายเลนในเขตร้อนตั้งแต่เขตมหาสมุทรแอตแลนติก ชายฝั่งแอฟริกาจนถึงเอเชียแปซิฟิก
มีความยาวลำตัวแตกต่างออกไปตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตร ในชนิด Zappa confluentus จนถึงเกือบหนึ่งฟุต ในชนิด Periophthalmodon schlosseri
หัวมีขนาดโต มีตาหนึ่งคู่ตั้งอยู่ส่วนบนสุดของหัวโปนออกมาเห็นได้ชัด ดวงตาสามารถกรอกไปมาได้ จึงใช้มองเห็นได้ดีเมื่อพ้นน้ำ สามารถเคลื่อนที่บนบกได้ โดยใช้ครีบอกที่แข็งแรงไถลตัวไปตามพื้นเลนและสามารถกระโดดได้ด้วย และสามารถใช้ชีวิตอยู่บนบกได้เป็นเวลานานเนื่องจากมีอวัยวะพิเศษอยู่ข้างเหงือกที่สามารถเก็บความชุ่มชื้นได้
ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ตำแหน่งของปากอยู่ปลายสุดของหัวขนานกับพื้น หากินในเวลาน้ำลดโดยกินอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กในพื้นเลน ทำให้แลดูผิวเผินเหมือนสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำมากกว่าปลา
ปกติปลาตีนจะอาศัยอยู่รวมกันหลายตัวไม่มีออกนอกเขตของตัวเอง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาตีนตัวผู้จะมีสีเข้มขึ้นและมีอาณาเขตของการสืบพันธุ์ โดยจะมีการสร้างหลุมซึ่งมันจะใช้ปากขุดโคลนมากอง บนปากหลุม เรียกว่า หลุมปลาตีน และมีพฤติกรรมหวงเขตแดนเมื่อมีปลาตีนตัวอื่นรุกล้ำ โดยจะแสดงการกางครีบหลังขู่ และเคลื่อนที่เข้าหาผู้รุกล้ำทันที ปลาตีนตัวผู้และตัวเมียจะผสมพันธุ์ในหลุมที่ตัวผู้ขุดไว้
ปลาตีนมักถูกจับมาขายเป็นปลาสวยงามอยู่เสมอ ๆ โดยมักหลอกขายว่าเป็นปลาน้ำจืดหรือปลาจากต่างประเทศ โดยผู้ค้ามักตั้งชื่อให้แปลกออกไป เช่น คุณเท้า, เกราะเพชร หรือ โฟร์อายส์ เป็นต้น
credit : http://www.nextsteptv.com/?p=2995
วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Musée d'Orsay
The Musée d'Orsay (French pronunciation: [myze dɔʁsɛ]) is a museum in Paris, France, on the left bank of the Seine. It is housed in the former Gare d'Orsay, an impressiveBeaux-Arts railway station built between 1898 and 1900. The museum holds mainlyFrench art dating from 1848 to 1915, including paintings, sculptures, furniture, and photography. It houses the largest collection of impressionist and post-impressionistmasterpieces in the world, by such painters such as Monet, Manet, Degas, Renoir,Cézanne, Seurat, Sisley, Gauguin and Van Gogh. Many of these works were held at the Galerie nationale du Jeu de Paume prior to the museum's opening in 1986.
HISTORY
The square next to the museum displays six bronze allegorical sculptural groups in a row, originally produced for the Exposition Universelle (1878):
HISTORY
The museum building was originally arailway station, Gare d'Orsay, constructed for the Chemin de Fer de Paris à Orléansand finished in time for the 1900 Exposition Universelle to the design of three architects: Lucien Magne, Émile Bénardand Victor Laloux. It was the terminus for the railways of southwestern France until 1939.
By 1939 the station's short platforms had become unsuitable for the longer trains that had come to be used for mainline services. After 1939 it was used for suburban services and part of it became a mailing centre during World War II. It was then used as a set for several films, such as Kafka's The Trial adapted by Orson Welles, and as a haven for the Renaud–Barrault Theatre Company and for auctioneers, while the Hôtel Drouot was being rebuilt.
In 1970, permission was granted to demolish the station but Jacques Duhamel, Minister for Cultural Affairs, ruled against plans to build a new hotel in its stead. The station was put on the supplementary list of Historic Monuments and finally listed in 1978. The suggestion to turn the station into a museum came from the Directorate of the Museums of France. The idea was to build a museum that would bridge the gap between the Louvre and the National Museum of Modern Art at the Georges Pompidou Centre. The plan was accepted byGeorges Pompidou and a study was commissioned in 1974. In 1978, a competition was organized to design the new museum. ACT Architecture, a team of three young architects (Pierre Colboc, Renaud Bardon and Jean-Paul Philippon), were awarded the contract which involved creating 20,000 sq. m. of new floorspace on four floors. The construction work was carried out by Bouygues.[3] In 1981, the Italian architect, Gae Aulenti was chosen to design the interior including the internal arrangement, decoration, furniture and fittings of the museum. Finally in July 1986, the museum was ready to receive its exhibits. It took 6 months to install the 2000 or so paintings, 600 sculptures and other works. The museum officially opened in December 1986 by then-president, François Mitterrand.
The square next to the museum displays six bronze allegorical sculptural groups in a row, originally produced for the Exposition Universelle (1878):
- South America by Aimé Millet
- Asia by Alexandre Falguière
- Oceania by Mathurin Moreau
- Europe by Alexandre Schoenewerk
- North America by Ernest-Eugène Hiolle
- Africa by Eugène Delaplanche
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)