วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2556
วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2556
จัตุรัสแห่งดวงดาว
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ .. จัตุรัสแห่งดวงดาว
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์
ป้ายจัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (ฝรั่งเศส: Place Charles de Gaulle) หรือในอดีต จัตุรัสแห่งดวงดาว (ฝรั่งเศส: Place de l'Étoile) เป็นจัตุรัสในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยมีถนน 12 สายมาบรรจบกัน ทำให้มีลักษณะเหมือนดวงดาว
ตรงกลางของจัตุรัสเป็นที่ตั้งของประตูชัยฝรั่งเศส จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์เป็นส่วนหนึ่งของแนวเส้นตรงทางประวัติศาสตร์ (Axe historique) อันเลื่องชื่อ
สถานที่แห่งนี้มีสถานีรถไฟฟ้า : ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ - เอตวล ให้บริการ
ประวัติ
ชื่อเดิมของสถานที่แห่งนี้คือ เนินเชโยต์ (Butte de Chaillot) ซึ่งต่อมามาริญี ก็มีโครงการปรับแนวดินให้เสมอกัน (บริเวณเชโยต์) และกำลังปรับปรุงชองป์-เซลิเซ่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งโครงการนี้ได้สำเร็จลุล่วงในปี พ.ศ. 2320
ชื่อ "ดวงดาว" (l'Étoile) เป็นชื่อเดิมของสถานที่แห่งนี้ สืบเนื่องมาจากถนนหลายสายที่มาบรรจบกัน ทำให้มีลักษณะเหมือนดวงดาว จึงเป็นที่มาของชื่อ "จัตุรัสแห่งดวงดาว" (Place de l'Étoile) ซึ่งในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 นั้น สถานที่แห่งนี้เป็นเพียงทางแยกล่าสัตว์เท่านั้น
การก่อสร้างประตูชัยฝรั่งเศสกลางจัตุรัสได้เสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2379 ในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1
จัตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Étoile) ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (Place Charles de Gaulle) หลังจากการอสัญกรรมของประธานาธิบดีชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ในปี พ.ศ. 2513 เพื่อเป็นการรำลึก แต่ถึงกระนั้นชื่อจัตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Étoile) ก็ยังเป็นที่นิยมเรียกในปัจจุบัน
ลักษณะ
ถนน 12 สายมาบรรจบกัน ณ จัตุรัสแห่งนี้ทำให้มีรูปร่างเป็นดวงดาว ถนนทั้ง 12 สาย (ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ) มีดังนี้ :
1.ถนนวากรอง (Avenue de Wagram) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนเลตวล (Boulevard de l'Étoile) หรือ ถนนเบอซงส์ (Boulevard Bezons)
2.ถนนออช (Avenue Hoche) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนแรน-ออร์ตองซ์ (Avenue de la Reine-Hortense) และก่อนหน้านั้น ถนนมงโซ (Boulevard Monceau)
3.ถนนฟรายด์ลันด์ (Avenue de Friedland) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนโบฌง (Boulevard Beaujon)
4.ถนนชองป์-เอลิเซ่ส์
5.ถนนมาร์โซ (Avenue Marceau) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนโฌเซฟีน (Avenue Joséphine)
6.ถนนดีเอนา (Avenue d'Iéna)
7.ถนนเกลแบร์ (Avenue Kléber) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนรัว-เดอ-โรม (Avenue du Roi-de-Rome) และก่อนหน้านั้น ถนนปาสซี (Boulevard de Passy)
8.ถนนวิคตอร์ อูโก (Avenue Victor Hugo) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนรัว-เดอ-โรม (Avenue du Roi-de-Rome) และก่อนหน้านั้น ถนนปาสซี (Boulevard de Passy)
9.ถนนไอเลา (Avenue d'Eylau) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนแซงต์-กลูด์ (Avenue de Saint-Cloud)
10.ถนนฟอช (Avenue Foch) ในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 มีชื่อว่า ถนนบัวส์ (เดอ บูโลญ) และในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนแล็งเปราทรีซ (Avenue de l'Impératrice)
11.ถนนกรองด์-อาร์เม (Avenue de la Grande-Armée) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนเนยยี (Avenue de Neuilly)
12.ถนนการ์โนต์ (Avenue Carnot) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนเดสลิง (Avenue d'Essling)
13.ถนนมัค-มาอง (Avenue Mac-Mahon) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนแพรงซ์-เฌโรม (Avenue du Prince-Jérôme)
ถนนชองป์-เซลิเซ่ส์คือเส้นที่มุ่งไปยังสวนสาธารณะด้านขวาบนจัตุรัสมีสัดส่วนรับกันทำให้เกิดแกนขึ้นมา 6 แกนดังนี้ :
1.แกนถนนมัค-มาองและถนนดีเอนา
2.แกนถนนวากรองและถนนเกลแบร์
3.แกนถนนออชและถนนวิคตอร์ อูโก
4.แกนถนนฟรายด์ลันด์และถนนฟอช
5.แกนถนนชองป์-เซลิเซ่ส์และถนนกรองด์-อาร์เม : แนวเส้นตรงทางประวัติศาสตร์
6.แกนถนนมาร์โซและถนนการ์โนต์
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (และประตูชัยฝรั่งเศส) เป็นส่วนหนึ่งของเขตที่ 8 เขตที่ 16 และเขตที่ 17 :
เขตที่ 8 : พื้นที่ระหว่างถนนวากรองและถนนมาร์โซ
เขตที่ 16 : พื้นที่ระหว่างถนนมาร์โซและถนนกรองด์-อาร์เม
เขตที่ 17 : พื้นที่ระหว่างถนนกรองด์-อาร์เมและถนนวากรอง
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ถูกล้อมรอบด้วยถนน 2 สายทำให้เกิดรูปร่างวงกลมขึ้นมา: ถนนแพรสบูร์ก (Rue de Presbourg) และถนนติลซิตต์ (Rue de Tilsitt) ซึ่งถูกตั้งชื่อในปี พ.ศ. 2407 เมื่อการทูตในรัชสมัยนโปเลียนลุล่วง
วรรณคดี
"La Place de l'Étoile" เป็นชื่อหนังสือนวนิยาย ประพันธ์โดยปาทริค โมดียาโนในปี พ.ศ. 2511 ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนชื่อสถานที่แห่งนี้
ขอขอบคุณ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์
ป้ายจัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (ฝรั่งเศส: Place Charles de Gaulle) หรือในอดีต จัตุรัสแห่งดวงดาว (ฝรั่งเศส: Place de l'Étoile) เป็นจัตุรัสในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยมีถนน 12 สายมาบรรจบกัน ทำให้มีลักษณะเหมือนดวงดาว
ตรงกลางของจัตุรัสเป็นที่ตั้งของประตูชัยฝรั่งเศส จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์เป็นส่วนหนึ่งของแนวเส้นตรงทางประวัติศาสตร์ (Axe historique) อันเลื่องชื่อ
สถานที่แห่งนี้มีสถานีรถไฟฟ้า : ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ - เอตวล ให้บริการ
ประวัติ
ชื่อเดิมของสถานที่แห่งนี้คือ เนินเชโยต์ (Butte de Chaillot) ซึ่งต่อมามาริญี ก็มีโครงการปรับแนวดินให้เสมอกัน (บริเวณเชโยต์) และกำลังปรับปรุงชองป์-เซลิเซ่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งโครงการนี้ได้สำเร็จลุล่วงในปี พ.ศ. 2320
ชื่อ "ดวงดาว" (l'Étoile) เป็นชื่อเดิมของสถานที่แห่งนี้ สืบเนื่องมาจากถนนหลายสายที่มาบรรจบกัน ทำให้มีลักษณะเหมือนดวงดาว จึงเป็นที่มาของชื่อ "จัตุรัสแห่งดวงดาว" (Place de l'Étoile) ซึ่งในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 นั้น สถานที่แห่งนี้เป็นเพียงทางแยกล่าสัตว์เท่านั้น
การก่อสร้างประตูชัยฝรั่งเศสกลางจัตุรัสได้เสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2379 ในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1
จัตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Étoile) ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (Place Charles de Gaulle) หลังจากการอสัญกรรมของประธานาธิบดีชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ในปี พ.ศ. 2513 เพื่อเป็นการรำลึก แต่ถึงกระนั้นชื่อจัตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Étoile) ก็ยังเป็นที่นิยมเรียกในปัจจุบัน
ลักษณะ
ถนน 12 สายมาบรรจบกัน ณ จัตุรัสแห่งนี้ทำให้มีรูปร่างเป็นดวงดาว ถนนทั้ง 12 สาย (ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ) มีดังนี้ :
1.ถนนวากรอง (Avenue de Wagram) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนเลตวล (Boulevard de l'Étoile) หรือ ถนนเบอซงส์ (Boulevard Bezons)
2.ถนนออช (Avenue Hoche) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนแรน-ออร์ตองซ์ (Avenue de la Reine-Hortense) และก่อนหน้านั้น ถนนมงโซ (Boulevard Monceau)
3.ถนนฟรายด์ลันด์ (Avenue de Friedland) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนโบฌง (Boulevard Beaujon)
4.ถนนชองป์-เอลิเซ่ส์
5.ถนนมาร์โซ (Avenue Marceau) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนโฌเซฟีน (Avenue Joséphine)
6.ถนนดีเอนา (Avenue d'Iéna)
7.ถนนเกลแบร์ (Avenue Kléber) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนรัว-เดอ-โรม (Avenue du Roi-de-Rome) และก่อนหน้านั้น ถนนปาสซี (Boulevard de Passy)
8.ถนนวิคตอร์ อูโก (Avenue Victor Hugo) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนรัว-เดอ-โรม (Avenue du Roi-de-Rome) และก่อนหน้านั้น ถนนปาสซี (Boulevard de Passy)
9.ถนนไอเลา (Avenue d'Eylau) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนแซงต์-กลูด์ (Avenue de Saint-Cloud)
10.ถนนฟอช (Avenue Foch) ในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 มีชื่อว่า ถนนบัวส์ (เดอ บูโลญ) และในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนแล็งเปราทรีซ (Avenue de l'Impératrice)
11.ถนนกรองด์-อาร์เม (Avenue de la Grande-Armée) เรียกมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 เดิมเรียกว่า ถนนเนยยี (Avenue de Neuilly)
12.ถนนการ์โนต์ (Avenue Carnot) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนเดสลิง (Avenue d'Essling)
13.ถนนมัค-มาอง (Avenue Mac-Mahon) ในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 มีชื่อว่า ถนนแพรงซ์-เฌโรม (Avenue du Prince-Jérôme)
ถนนชองป์-เซลิเซ่ส์คือเส้นที่มุ่งไปยังสวนสาธารณะด้านขวาบนจัตุรัสมีสัดส่วนรับกันทำให้เกิดแกนขึ้นมา 6 แกนดังนี้ :
1.แกนถนนมัค-มาองและถนนดีเอนา
2.แกนถนนวากรองและถนนเกลแบร์
3.แกนถนนออชและถนนวิคตอร์ อูโก
4.แกนถนนฟรายด์ลันด์และถนนฟอช
5.แกนถนนชองป์-เซลิเซ่ส์และถนนกรองด์-อาร์เม : แนวเส้นตรงทางประวัติศาสตร์
6.แกนถนนมาร์โซและถนนการ์โนต์
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (และประตูชัยฝรั่งเศส) เป็นส่วนหนึ่งของเขตที่ 8 เขตที่ 16 และเขตที่ 17 :
เขตที่ 8 : พื้นที่ระหว่างถนนวากรองและถนนมาร์โซ
เขตที่ 16 : พื้นที่ระหว่างถนนมาร์โซและถนนกรองด์-อาร์เม
เขตที่ 17 : พื้นที่ระหว่างถนนกรองด์-อาร์เมและถนนวากรอง
จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ถูกล้อมรอบด้วยถนน 2 สายทำให้เกิดรูปร่างวงกลมขึ้นมา: ถนนแพรสบูร์ก (Rue de Presbourg) และถนนติลซิตต์ (Rue de Tilsitt) ซึ่งถูกตั้งชื่อในปี พ.ศ. 2407 เมื่อการทูตในรัชสมัยนโปเลียนลุล่วง
วรรณคดี
"La Place de l'Étoile" เป็นชื่อหนังสือนวนิยาย ประพันธ์โดยปาทริค โมดียาโนในปี พ.ศ. 2511 ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนชื่อสถานที่แห่งนี้
ขอขอบคุณ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วันพุธที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556
โคลงสองสุภาพ
โคลงสองสุภาพบทหนึ่งจะมี ๓ วรรค วรรคหนึ่งและวรรคสอง จะมีจํานวนคำวรรคละ ๕ คำ ในวรรคสาม จะมีจำนวนคำ ๔ คำซึ่งรวมทั้งหมด ๓ วรรคจะมีจำนวนคำรวมทั้งสิ้น ๑๔ คำ และในวรรคสุดท้ายสามารถที่จะใส่คำสร้อยได้เพิ่มขึ้นอีก ๒ คำ เพื่อเพิ่มความไพเราะให้กับบทกลอน
จำนวนพยางค์ต้องมีตามแบบแผนผัง ถ้าหากเป็นพยางค์ลักษณะของลหุอาจจะมีได้มากเกินกว่าที่แผนผังได้กำหนดไว้ก็ได้ แต่จะต้องไม่ยาวจนมีความรู้สึกว่าเยิ่นเย้อจนทําให้อ่านไห้ถูกทํานองและจังหวะไม่ได้
การสัมผัสของบทกลอน คำที่ ๕ วรรคหนึ่ง จะต้องสัมผัสกับคำที่ ๕ วรรคสอง หากเป็นการแต่งเพื่อเข้าลิลิต จะต้องให้คำสุดท้ายของบทสัมผัสกับคำที่ ๑ คำที่ ๒ หรือ คำที่ ๓ ของบทต่อๆ ไปในทุกบท
จำนวนพยางค์ต้องมีตามแบบแผนผัง ถ้าหากเป็นพยางค์ลักษณะของลหุอาจจะมีได้มากเกินกว่าที่แผนผังได้กำหนดไว้ก็ได้ แต่จะต้องไม่ยาวจนมีความรู้สึกว่าเยิ่นเย้อจนทําให้อ่านไห้ถูกทํานองและจังหวะไม่ได้
การสัมผัสของบทกลอน คำที่ ๕ วรรคหนึ่ง จะต้องสัมผัสกับคำที่ ๕ วรรคสอง หากเป็นการแต่งเพื่อเข้าลิลิต จะต้องให้คำสุดท้ายของบทสัมผัสกับคำที่ ๑ คำที่ ๒ หรือ คำที่ ๓ ของบทต่อๆ ไปในทุกบท
- บังคับวรรณยุกต์เอกที่ คำที่ ๔ ของวรรคแรก คำที่ ๒ ของวรรคสอง และคำที่ ๑ ของวรรคสาม และสามารถใช้คำตายแทนรูปวรรณยุกต์เอกได้
- บังคับวรรณยุกต์โทที่ คำที่ ๕ ของวรรคหนึ่งและวรรคสอง และคำที่ ๒ ของวรรคสาม และไม่สามารถใช้คำอื่นแทนวรรณยุต์โทนอกจากคำที่มีรูปวรรณยุกต์โทเท่านั้น
- นอกจากนี้แล้วยังสามารถใช้วรรณยุกต์เอกหรือโท ที่ตำแหน่งอื่นๆ นอกเหนือจากที่บทกลอนบังคับไว้ได้ แต่อย่าให้มากนักเพื่อความไพเราะ
- ห้ามใช้คำตายที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท เพื่อใช้ในตำแหน่งวรรณยุกต์โท
- ห้ามใช้ "ห" นำหน้าคำที่เป็นวรรณยุกต์เอก เพื่อให้คำนั้นๆ กลายไปเป็นวรรณยุกต์โท ด้วยประสงค์ที่จะนำไปใช้ในตำแหน่งวรรณยุกต์โท เช่นคำ น่า , เน่า , เล่า , วิ่น , วุ่น ซึ่งเมื่อนำ "ห" มาผันจะเป็น หน้า , เหน้า , เหล้า , หวิ้น , หวุ้น เป็นต้น หรือคำที่ใช้วรรณยุกต์เอกโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้วรรณยุกต์โทเสียงเดียวแทย เช่น พลั่ง เป็น ผลั้ง , พลั่ว เป็น ผลั้ว ฯลฯ เช่นนี้ไม่นิยมใช้ แต่ตามคติโบราณไม่ใคร่จะพิถีพิถันในเรื่องนี้มากนักคําเช่นนี้เรียกว่า "โทโทษ"
- ห้ามใช้คำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก แทนคำที่ใช้รูปวรรณยุกต์โทโดยปรกติ เช่นการใช้ ค่อ แทน ข้อ , เค่า แทน เข้า ฯลฯ คำชนิดนี้เรียกว่า" เอกโทษ"
- คำสุดท้ายของบท ห้ามใช้คำที่มีรูปวรรณยุกต์ และเสียงที่นิยมใช้สำหรับลงท้ายบทซึ่งมักจะถือกันว่าไพเราที่สุสําหรับการลงท้ายบทเป็นเสียงสุดท้าย ก็คือเสียงจัตวาที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์
คําตายห้ามนํามาใช้เป็นคำสุดท้ายของบท
สามารถมีคำสร้อย ต่อจากวรรคสาม ตามแผนผัง เพื่อเพิ่มความไพเราะของบทกลอนได้
วันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2556
จัตุรัสกล
ในคณิตศาสตร์ จัตุรัสกล (magic square) ขนาด n คือการนำตัวเลขตั้งแต่ 1 ถึง n² มาเรียงลงในตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด ซึ่งผลบวกของจำนวนในแต่ละแถว, แต่ละหลัก, แต่ละแนวทแยงจะเท่ากันทั้งหมด จัตุรัสกลดังกล่าวมีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า จัตุรัสกลปกติ
จัตุรัสกลปกติจะมีอยู่สำหรับทุกขนาด n ≥ 1 ยกเว้น n = 2 เนื่องจากเราไม่สามารถบรรจุจำนวนตั้งแต่ 1 ถึง 4 ลงในตารางขนาด ช่องให้มีผลบวกเท่ากันทุกแนวได้ สำหรับกรณี n = 1 เป็นกรณีที่จัดว่าเห็นได้ชัด นั่นคือประกอบด้วยช่อง 1 ช่อง ซึ่งบรรจุเลข 1. จัตุรัสกลที่น่าสนใจซึ่งมีขนาดเล็กที่สุด คือจัตุรัสกลขนาด 3 ตามรูปข้างล่าง
ผลบวกที่เป็นค่าคงตัวในทุกๆแถว, หลัก และแนวทแยง เรียกว่า ค่าคงตัวของจัตุรัสกล (magic constant) M. ค่าคงตัวของจัตุรัสกล จะขึ้นอยู่กับขนาด n และมีค่าเท่ากับ
สำหรับจัตุรัสกลปรกติ ที่มีขนาด n = 3, 4, 5, … จะมีค่าคงตัวของจัตุรัสกล เท่ากับ
- 15, 34, 65, 111, 175, 260, …
วันอาทิตย์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2556
กีฬาเปตอง
ประวัติศาสตร์
เปตองมีต้นกำเนิดจากประเทศกรีก ตั้งแต่เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวฝรั่งเศสกว่า 17 ล้านคนนิยมเล่นกีฬาชนิดนี้ในยามว่าง
ประวัติศาสตร์เปตองในประเทศไทย มีผู้นำกีฬาเปตองเข้ามาเล่นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 และได้รับการสนับสนุนจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งทรงโปรดกีฬาชนิดนี้ตั้งแต่เมื่อทรงประทับอยู่ในสวิตเซอร์แลนด์ ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์ และสนับสนุนให้มีการเล่นกีฬาเปตองในประเทศไทย
ประวัติความเป็นมากีฬาเปตองในประเทศไทย
กีฬาเปตองได้เริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2518 โดยการริเริ่มของนายจันทร์ โพยหาญ นำกีฬาเปตองเข้ามาเผยแพร่ให้คนรู้จัก อย่างเป็นทางการคนแรก นายจันทร์ โพยหาญได้ร่วมกับนายศรีภูมิ สุขเนตร ซึ่งเป็นอดีตนักเรียนเก่าฝรั่งเศส ซึ่งมีความรู้ความสามารถในด้านกีฬาเปตองเป็นอย่างดี ได้ร่วมกันจัดตั้งสมาคมเปตอง และโรปวังซาล แห่งประเทศไทย ขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2519 โดยมีนายศรีภูมิ สุขเนตร เป็นนายกสมาคมคนแรกเมื่อจัดตั้งสมาคมเรียบร้อยแล้ว คณะกรรมการได้ช่วยกันรณรงค์เผยแพร่ และสาธิตการเล่นเปตองมาโดยตลอด แต่ไม่ได้รับความสำเร็จเท่าที่ควร
ต่อมาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนีทรงช่วยส่งเสริม และเผยแพร่ให้อีกทางหนึ่ง โดยทรงรับสั่งให้จัดการแข่งขันเปตองชิงชนะเลิศภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ซึ่งพระองค์ท่านและสมเด็จพระพี่นางเอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนาฯ ทรงได้ลงร่วมทำการแข่งขันในครั้งนี้ด้วย และอีกหลาย ๆ รายการจึงให้สมญานามกีฬาเปตองว่า “กีฬาสมเด็จย่า”
ใน พ.ศ. 2527 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ รับสมาคมเปตองและโปรวังซาล แห่งแระเทศไทย ไว้ในพระอุปถัมภ์ และวันที่ 22 เมษายน 2530 เปลี่ยนชื่อสมาคมเปตองฯ เป็นสหพันธ์เปตอง แห่งประเทศไทยในพระอุปถัมภ์ สำนักงานตั้งอยู่ที่ 2088 อินเดอร์สเตเดี้ยม หัวหมาก กรุงเทพฯ ปัจจุบันกีฬาเปตอง มีการบรรจุเข้าในการแข่งขันกีฬา ของส่วนราชการต่าง ๆ รวมทั้งภาคเอกชนด้วย เช่น กีฬาแห่งชาติ กีฬาเขตการศึกษา กีฬากองทัพไทย กีฬามหาวิทยาลัย กีฬาของกระทรวงต่าง ๆ กีฬารัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
จุดเด่นของกีฬาเปตอง
1. เป็นพื้นฐานในการเล่นกีฬาประเภทอื่น ๆ ลักษณะของการเล่นเป็นการ เสริมสร้างแนวความคิด และสติปัญญาของผู้เล่น
2. ในระหว่างการเล่นร่างกายจะได้รับการบริหารทุกส่วน กล่าวได้ว่าในการเล่นเปตอง 6 เกมส์/วัน จะต้องออกกำลังในการใช้ลูกบลูที่มีน้ำหนัก 680/700 กรัม ถึงประมาณ 200 ครั้ง ก้มขึ้นลงประมารณ 250 ครั้ง เดินไปมาในสนามประมาณ 3 กิโลเมตร
3. การเล่นกีฬาประเภทนี้ง่าย และสะดวก เล่นได้ทุกเวลาทั้งในร่ม และกลางแจ้ง สนามเดิน หญ้า และลูกรัง
1. เป็นพื้นฐานในการเล่นกีฬาประเภทอื่น ๆ ลักษณะของการเล่นเป็นการ เสริมสร้างแนวความคิด และสติปัญญาของผู้เล่น
2. ในระหว่างการเล่นร่างกายจะได้รับการบริหารทุกส่วน กล่าวได้ว่าในการเล่นเปตอง 6 เกมส์/วัน จะต้องออกกำลังในการใช้ลูกบลูที่มีน้ำหนัก 680/700 กรัม ถึงประมาณ 200 ครั้ง ก้มขึ้นลงประมารณ 250 ครั้ง เดินไปมาในสนามประมาณ 3 กิโลเมตร
3. การเล่นกีฬาประเภทนี้ง่าย และสะดวก เล่นได้ทุกเวลาทั้งในร่ม และกลางแจ้ง สนามเดิน หญ้า และลูกรัง
ประโยชน์ของกีฬาเปตอง
พัฒนาทางด้านร่างกาย
- กำลังแขน ผู้เล่นจะฝึกการใช้กำลังทั้งนิ้วมือ ข้อมือ แขน ข้อศอก และหัวไหล่ให้สัมพันธืกัน เพื่อการบังคับลูกให้ได้จังหวะ และระยะที่ต้องการ
- กำลังขา ผู้เล่นจะต้องเดินไปเดินมาตามความยาวของสนามซึ่งมีขนาดยาว 15 เมตร กว้าง 4 เมตร ลุกนั่ง เพื่อการวาง หรือเข้าลูกตลอดเวลาการเล่น
- สายตา กีฬาเปตองช่วยให้เกิดการทำงานที่สัมพันธ์กันระหว่างสายตา และมือ เนื่องจากต้องใช้สายตา กะระยะทาง พิจารณาแง่มุมต่าง ๆ ที่จะเข้าลูกตีลูก เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพตามต้องการ
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
- กีฬาเปตองเป็นเกมการเล่นที่จำเป็นต้องอาศัยการคิด คาดคะเน และการอ่านเกมในการเล่น อย่างจริงจัง คิดเกมรับเมื่อเป็นฝ่ายเสียเปรียบ และเกมรุกที่บังคับให้ฝ่ายตรงข้ามเล่นตามเกมที่เราวางไว้
พัฒนาการทางด้านจิตใจ
- กีฬาเปตองมีทั้งเดี่ยว คู่ทีม ผู้เล่นจะต้องเข้าใจถึงจิตใจของผู้ร่วมทีมเป็นอย่างดี มีการปรึกษาหารือกัน ยอมรับความคิดของกัน และกัน แสดงให้เห็นถึงการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สมาธิเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งไม่ว่าเป้นการเล่นประการใด ๆ ผู้เล่นจะต้องฝึกการวางเฉย ทำจิตให้สงบ ทำสมาธิให้ได้ ตั้งความหวังให้น้อย กว่าความเป็นจริง ไม่วิตกกังวลเกินไป ไม่ท้อถอยในการเล่น ไม่สนใจเสียงข่มขวัญ เสียงเชียร์ที่ดัง การสอนเกมการเล่นของฝ่ายตรงข้าม เพราะสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้เกิดความกังวลสับสน จะมีผลต่อเกมการเล่น ถ้าสมาธิไม่ดีพอ
การพัฒนาการทางด้านสังคม
- กีฬาเปตอง เป็นกีฬาที่เล่นได้ไม่ยาก จึงมีผู้นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายจะเห็นได้ว่าในหมู่บ้าน หน่วยงานของรัฐและเอกชนได้จัดให้มีการแข่งขัน เพื่อให้ผู้เล่นได้มาพบปะสังสรรค์ได้รู้จักและได้ร่วมสนุกกัน นับเป็นการสร้างสังคมอันดีแก่นักกีฬา นอกจากนี้ยังลดปัญหาสารเสพติด เนื่องจากคนหันมาเล่นกีฬาล่งผลให้ปัญหาอาชญากรรมลดลง
- ดังนั้นการเล่นกีฬาเปตองจำเป็นต้องรู้พื้นฐานของการเล่น การใช้เทคนิคทุกรูปแบบ
อุปกรณ์การเล่นเปตอง
1. ลูกเปตอง (ลูกบูล) เป็นลูกทรงกลมด้านในกลวง ทำด้วยโลหะมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 71-76 ม. มีน้ำหนัก 350-800 กรัม มีเครื่องหมายของโรงงานผู้ผลิต ตัวเลขแสดงน้ำหนัก และเลขรหัสปรากฎอยู่บนลูกบูลอย่างชัดเจน หมายเหตุ : ปัจจุบันประเทศไทยมีลูกเปตองที่ทำด้วย พลาสติกเรียกว่า “ลูกพลาสตอง” ผลิต จำหน่าย โดยบริษัท มาราธอน มีขนาด น้ำหนัก มาตรฐาน ใกล้เคียงกับลูกเปตองสามารถใช้เล่นฝึกซ้อม หรือแข่งขันได้ในบางรายการ
2. ลูกเป้า เป็นลูกทรงกลมทำด้วยไม้เนื้อแข็ง หรือพลาสติก มีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 25-35 ม.ม. ทาสีที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
3. สนามเล่น สามารถเล่นได้ทุกสนาม ที่มีด้านหน้าเรียบยาวตรงพอประมาณ ขนาดของสนามกว้าง 4 เมตร ยาว 15 เมตร (ยกเว้นพื้นไม้ พื้นคอนกรีตลาดยาง)
พัฒนาทางด้านร่างกาย
- กำลังแขน ผู้เล่นจะฝึกการใช้กำลังทั้งนิ้วมือ ข้อมือ แขน ข้อศอก และหัวไหล่ให้สัมพันธืกัน เพื่อการบังคับลูกให้ได้จังหวะ และระยะที่ต้องการ
- กำลังขา ผู้เล่นจะต้องเดินไปเดินมาตามความยาวของสนามซึ่งมีขนาดยาว 15 เมตร กว้าง 4 เมตร ลุกนั่ง เพื่อการวาง หรือเข้าลูกตลอดเวลาการเล่น
- สายตา กีฬาเปตองช่วยให้เกิดการทำงานที่สัมพันธ์กันระหว่างสายตา และมือ เนื่องจากต้องใช้สายตา กะระยะทาง พิจารณาแง่มุมต่าง ๆ ที่จะเข้าลูกตีลูก เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพตามต้องการ
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
- กีฬาเปตองเป็นเกมการเล่นที่จำเป็นต้องอาศัยการคิด คาดคะเน และการอ่านเกมในการเล่น อย่างจริงจัง คิดเกมรับเมื่อเป็นฝ่ายเสียเปรียบ และเกมรุกที่บังคับให้ฝ่ายตรงข้ามเล่นตามเกมที่เราวางไว้
พัฒนาการทางด้านจิตใจ
- กีฬาเปตองมีทั้งเดี่ยว คู่ทีม ผู้เล่นจะต้องเข้าใจถึงจิตใจของผู้ร่วมทีมเป็นอย่างดี มีการปรึกษาหารือกัน ยอมรับความคิดของกัน และกัน แสดงให้เห็นถึงการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สมาธิเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งไม่ว่าเป้นการเล่นประการใด ๆ ผู้เล่นจะต้องฝึกการวางเฉย ทำจิตให้สงบ ทำสมาธิให้ได้ ตั้งความหวังให้น้อย กว่าความเป็นจริง ไม่วิตกกังวลเกินไป ไม่ท้อถอยในการเล่น ไม่สนใจเสียงข่มขวัญ เสียงเชียร์ที่ดัง การสอนเกมการเล่นของฝ่ายตรงข้าม เพราะสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้เกิดความกังวลสับสน จะมีผลต่อเกมการเล่น ถ้าสมาธิไม่ดีพอ
การพัฒนาการทางด้านสังคม
- กีฬาเปตอง เป็นกีฬาที่เล่นได้ไม่ยาก จึงมีผู้นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายจะเห็นได้ว่าในหมู่บ้าน หน่วยงานของรัฐและเอกชนได้จัดให้มีการแข่งขัน เพื่อให้ผู้เล่นได้มาพบปะสังสรรค์ได้รู้จักและได้ร่วมสนุกกัน นับเป็นการสร้างสังคมอันดีแก่นักกีฬา นอกจากนี้ยังลดปัญหาสารเสพติด เนื่องจากคนหันมาเล่นกีฬาล่งผลให้ปัญหาอาชญากรรมลดลง
- ดังนั้นการเล่นกีฬาเปตองจำเป็นต้องรู้พื้นฐานของการเล่น การใช้เทคนิคทุกรูปแบบ
อุปกรณ์การเล่นเปตอง
1. ลูกเปตอง (ลูกบูล) เป็นลูกทรงกลมด้านในกลวง ทำด้วยโลหะมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 71-76 ม. มีน้ำหนัก 350-800 กรัม มีเครื่องหมายของโรงงานผู้ผลิต ตัวเลขแสดงน้ำหนัก และเลขรหัสปรากฎอยู่บนลูกบูลอย่างชัดเจน หมายเหตุ : ปัจจุบันประเทศไทยมีลูกเปตองที่ทำด้วย พลาสติกเรียกว่า “ลูกพลาสตอง” ผลิต จำหน่าย โดยบริษัท มาราธอน มีขนาด น้ำหนัก มาตรฐาน ใกล้เคียงกับลูกเปตองสามารถใช้เล่นฝึกซ้อม หรือแข่งขันได้ในบางรายการ
2. ลูกเป้า เป็นลูกทรงกลมทำด้วยไม้เนื้อแข็ง หรือพลาสติก มีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 25-35 ม.ม. ทาสีที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
3. สนามเล่น สามารถเล่นได้ทุกสนาม ที่มีด้านหน้าเรียบยาวตรงพอประมาณ ขนาดของสนามกว้าง 4 เมตร ยาว 15 เมตร (ยกเว้นพื้นไม้ พื้นคอนกรีตลาดยาง)
วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556
GUIGNOL
Guignol is the main character in a French puppet show which has come to bear his name.
Although often thought of as children's entertainment, Guignol's sharp wit and linguistic verve have always been appreciated by adults as well, as shown by the motto of a prominent Lyon troupe: "Guignol amuses children… and witty adults".
Laurent Mourguet, Guignol's creator, was born into a family of modest silk weavers on March 3, 1769. The certificate of his marriage to Jeanne Esterle in 1788 shows he was unable to read. When hard times fell on the silk trade during the French Revolution, he became a peddler, and in 1797 started to practice dentistry, which in those days was simply the pulling of teeth. The service was free; the money was made from the medicines sold afterward to ease the pain. To attract patients, he started setting up a puppet show in front of his dentist's chair.
His first shows featured Polichinelle, a character borrowed from the Italiancommedia dell'arte who in England would become Punch. By 1804 the success was such that he gave up dentistry altogether and became a professional puppeteer, creating his own scenarios drawing on the concerns of his working-class audience and improvising references to the news of the day. He developed characters closer to the daily lives of his Lyon audience, first Gnafron, a wine-loving cobbler, and in 1808 Guignol. Other characters, including Guignol's wife Madelon and the gendarme Flagéolet soon followed, but these are never much more than foils for the two heroes.
Although nominally a silkweaver like much of his original audience, Guignol's profession changes, as does his marital status; he can be in turn valet, peddler, carpenter, shoemaker, or unemployed; at times he is Madelon's husband, at times her smitten suitor according to requirements of the scenario. What remain constant are his poverty, but more importantly his good humor and his sense of justice. The use in French of "guignol" as an insult meaning "buffoon" is a curious malapropism, as Guignol is clever, courageous and generous; his inevitable victory is always the triumph of good over evil.
Sixteen of Mourguet's children and grandchildren continued his tradition, and many of the companies performing today can trace their heritage back to him. According to the era, the region, or the performers, Guignol's original caustic satire has often been watered down to simple children's fare, and has even been used to parody grand opera, but his original spirit still survives in his hometown of Lyon, where both traditional and original contemporary performances are an integral part of local culture. In addition to his social satire, Guignol has become an important protector of the local dialect, the parler lyonnais.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)