วันพุธที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556

น้ำผลไม้ และไอศกรีม อย่าเลือกผิด อันตรายกว่าที่คิด !


เลือกน้ำผลไม้ และไอศกรีม
น้ำผลไม้ และไอศกรีม นับเป็น เครื่องดื่ม และของว่าง ยอดฮิต ของใครต่อหลายคนนะคะ วันนี้เรามีหลักในการเลือกเบื้องต้นที่ง่ายๆมาฝากกันค่ะ


เลือกน้ำผลไม้ และไอศกรีม มาเริ่มกันที่น้ำผลไม้ก่อนดีกว่า

หลายคนมีหลักการเลือกน้ำผลไม้โดยพิจารณาดูจากข้อมูลสารอาหารข้างกล่อง แต่ทีนี้ลองสังเกตดูนะคะ ว่าเคยเห็นแสตมป์สีเขียวๆที่ติดข้างกล่องน้ำผลไม้บางยี่ห้อกันรึเปล่า นั่นหมายความว่า น้ำผลไม้กล่องนั้นต้องเสียภาษีสรรพสามิตค่ะ

เลือกน้ำผลไม้ และไอศกรีม แล้วภาษีสรรพสามิต คืออะไร ?
ก็คือภาษีการขายเฉพาะที่เรียกเก็บจากสินค้าและบริการบางประเภท ซึ่งมีเหตุผลสมควรที่จะต้องรับภาระภาษีสูงกว่าปกติ เช่น สินค้าที่บริโภคแล้วอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพและศีลธรรมอันดี สินค้าและบริการที่มีลักษณะเป็นการฟุ่มเฟือย สินค้าที่ได้รับผลประโยชน์เป็นพิเศษจากรัฐ หรือสินค้าที่ก่อให้เกิดภาระต่อรัฐบาลในการที่จะต้องสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อให้บริการผู้บริโภค หรือเป็นสินค้าที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม

เลือกน้ำผลไม้ และไอศกรีม แล้วเหตุใดน้ำผลไม้และน้ำผักพร้อมดื่ม จึงต้องเสียภาษีสรรพสามิต ?
สาเหตุเป็นเพราะส่วนผสมของ น้ำผลไม้และน้ำผักพร้อมดื่มนั้นเอง ที่มีน้ำตาลและน้ำเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ การที่กฎหมายกำหนดให้ต้องเสียภาษีสรรพสามิตก็เพื่อที่จะคุ้มครองผู้บริโภค โดยการควบคุมผู้ผลิตไม่ให้ใช้น้ำตาลกับน้ำเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์มากเกินไปจนอาจก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพร่างกายของผู้บริโภค

แต่อย่างไรก็ดี หากเครื่องดื่มน้ำผลไม้และน้ำผักที่มีส่วนประกอบเป็นไปตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่กรมสรรพสามิตกำหนด กรมสรรพสามิตได้ออกประกาศยกเว้นภาษีสรรพสามิต ทำให้น้ำผลไม้และน้ำผักพร้อมดื่มส่วนใหญ่ไม่ต้องเสียภาษี

เลือกน้ำผลไม้ และไอศกรีม คำถามที่ตามมาก็คือ ... เหตุใดน้ำผลไม้และน้ำผักพร้อมดื่มบางยี่ห้อจึงยังต้องเสียภาษีสรรพสามิตอีกทั้งๆ ที่กรมสรรพสามิตได้ออกกฎหมายยกเว้นภาษีสรรพสามิตให้แก่น้ำผลไม้และน้ำผักพร้อมดื่มแล้ว ... คำตอบก็คือ เพราะน้ำผลไม้หรือน้ำผักยี่ห้อนั้นไม่ได้มาตรฐานตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขที่กรมสรรพสามิตกำหนดนั่นเอง

ดังนั้น เวลาเลือกซื้อน้ำผลไม้หรือน้ำผักพร้อมดื่ม อย่าลืมสังเกตดูให้ดี ว่ามีแสตมป์สีเขียวๆ ติดไว้ข้างกล่องรึเปล่านะคะ


เลือกน้ำผลไม้ และไอศกรีม สำหรับผู้ที่ชอบทานไอศกรีม ยิ่งจะต้องระมัดระวังขึ้นไปอีก

เพราะแม้อย.อนุญาต แต่ไอศกรีมบางยี่ห้อ บางผู้ผลิตจะใช้ไขมันที่เหลือจากโรงฆ่าสัตว์ แทน และได้ใส่ส่วนผสมสังเคราะห์ จากสารเคมีต่าง ๆ ดังนี้

วิธีเลือก น้ำผลไม้ และไอ1. ไดอิธิลกลูคอล (diethyl glucol) สารเคมีราคาถูก ใช้ตีไขมัน ให้กระจาย แทนการใช้ไข่ เป็นสารกันเยือกแข็ง ที่ใช้กันน้ำแข็ง (anti freeze) และผสมในน้ำยากัดสี

วิธีเลือก น้ำผลไม้ และไอ2. อัลดีไฮด์ - ซี71 (aldehyde-C71) ใช้สร้างกลิ่น เชอร์รี่ ทำให้ไอศกรีมเป็นของเหลวติดไฟง่าย และยังนำไปใช้ทำสีอะนิลีน พลาสติกและยาง

วิธีเลือก น้ำผลไม้ และไอ3. ไปเปอร์โอรัล (piperoral) ใช้แทนวานิลลา เป็นสารเคมีที่ใช้ฆ่าเหาและหมัด

วิธีเลือก น้ำผลไม้ และไอ4. อิธิลอะซีเตท (ethyl acetate) ใช้สร้างกลิ่นรสสับปะรด ใช้เป็นตัวทำความสะอาดหนังและผ้าทอ กลิ่นของสารเคมีตัวนี้ ทำให้เกิดโรคปอดเรื้อรัง ตับ และหัวใจผิดปกติ

วิธีเลือก น้ำผลไม้ และไอ5. บิวธีรัลดีไฮด์ (butyraldehyde) ใช้สร้างกลิ่นรสเมล็ดในผลไม้เปลือกแข็ง เป็นสารประกอบสำคัญในกาวยาง

วิธีเลือก น้ำผลไม้ และไอ6. แอนนิล อะซีเตท (anyle acetate) ใช้สร้างกลิ่นรสกล้วยหอม เป็นสารทำลายใช้ล้างไขมัน

วิธีเลือก น้ำผลไม้ และไอ7. เบนซิล อะซีเตท (benzyle acetate) ใช้สร้างกลิ่นและรสสตรอเบอร์รี่ เป็นสารละลายไนเตรท

เวลาเกิดความอยากให้คิดถึงสารเคมีเหล่านี้ ทั้งสารกันเยือกแข็ง ตัวทำละลายน้ำมัน น้ำยาลอกสี ยาฆ่าเหา ยาฆ่าหมัด บางยี่ห้อมีตัวนั้นบ้าง มีตัวนี้บ้าง ไมใช่ว่าทุกยี่ห้อ จะมีหมดทุกตัว

นอกจากนี้สารที่ใช้ทำความหวานก็คือ แซคคาริน หรือน้ำตาลเทียม ทั้งมีสารเติมสีเติมกลิ่น ซึ่งเหล่านี้ล้วนพิสูจน์แล้วว่า มีส่วนสนับสนุนทำให้เกิดมะเร็งได้ ไอศกรีม อาหารขยะ เป็นสาเหตุโรคอาหารเป็นพิษ ถึง 98 เปอร์เซ็นต์

เลือกน้ำผลไม้ และไอศกรีม อื่นๆ

น้ำมันพืช.. มีสารกันหืน BTH หรือเปล่า ซีอิ้ว น้ำปลา แมกกี้ มี สารกันบูด (โซเดียมเบนโซเอท) หรือผงชูรส (โมโนโซเดียมกลูตาเมท) หรือไม่

ขนมปัง.. ขาวมีสารกันเสีย สารกันบูดไหม

หรืออาหารใดๆ.. ก็แล้วแต่ แวะอ่านดูฉลากสักนิด ว่า มีผงชูรส มีวัตถุกันเสีย เจือสีสังเคราะห์ แต่งกลิ่น แต่งรส หรือเปล่า แม้ อย.อนุญาตก็ตามเถอะ
...

อ้างอิงข้อมูลน้ำผลไม้ : นางสาวปิยะนาถ เอื้ออริยะพานิชกุล
สำนักกฎหมาย สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
https://www.facebook.com/สำนักกฎหมาย-สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
ที่มา : เดลินิวส์ออนไลน์  8 มีนาคม 2556

อ้างอิงข้อมูลไอศกรีมและอื่นๆ : yuwita.blogspot.com/
ที่มา : เว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุข 23 January 2013

credit : http://blog.eduzones.com/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น